วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2563






การนำเสนอและเผยแพร่โครงงาน


 การนำเสนอโครงงาน
การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิตผลของความคิด

 

การดำเนินงาน

วิธีการดำเนินงาน

        1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ 
จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ 

        2. ศึกษาค้นคว้าและวางแผน การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 


                                                                                               อ่านเพิ่มเติม

 

 การวางแผนและการออกแบบงานในการตัดต่อภาพและเสียง

      ในการตัดต่อภาพและเสียงวิดีโอนั้น จะต้องมีการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้ชิ้นงานออกมาตรงตามความต้องการ และมีประสิทธิภาพ จะได้ไม่ต้องเสียเวลาแก้ไขภายหลัง โดยดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 
      

 

2.2 การกำหนดขอบเขตของปัญหา


การกำหนดขอบเขตของปัญหา
การวิจัยทุกเรื่องจะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น ด้วยเหตุนี้เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้ว ผู้วิจัยจะต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง  โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของปัญหาการวิจัยว่าจะศึกษาในเรื่องใด ศึกษากับใคร และศึกษาแง่มุมใด ทั้งนี้เพื่อตีกรอบความคิดของผู้วิจัยและผู้อ่านให้อยู่ในวงที่จำกัดไว้


อ่านเพิ่มเติม


การกำหนดปัญหา


นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ครบถ้วน
ปัญหาหนึ่งของระบบงานที่ใช้ในปัจจุบันคือ โปรแกรมที่ใช้งานในระบบงานเดิมเหล่านั้นถูกนำมาใช้งานในระยะเวลาที่เนิ่นนานอาจเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อติดตามผลงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น 



 

การจัดเรียงข้อมูล (Sorting)

        การจัดเรียงหรือเรียงลำดับข้อมูล(Sorting) คือ การจัดเรียงข้อมูลให้เรียงลำดับตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ โดยอาจเรียงจากน้อยไปมาก หรือค่ามากไปน้อยก็ได้ การเรียงลำดับข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะแบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 

1. การจัดเรียงลำดับข้อมูลภายใน (Internal sorting) 
  • ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่ใหญ่กว่าเนื้อที่ในหน่วยความจำ (main memory)
  • ไม่ต้องใช้หน่วยความจำสำรอง เช่น ดิสก์, เทป เป็นต้น
2. การเรียงลำดับข้อมูลภายนอก (External sorting)
  • ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนใหญ่เกินกว่าที่จะเก็บลงในหน่วยความจำได้หมดภายในครั้งเดียว
  • จะใช้หน่วยความจำภายนอก เช่น  ดิสก์, เทป สำหรับเก็บข้อมูลบางส่วนที่ได้รับการเรียงลำดับข้อมูลแล้ว แล้วจึงค่อยจัดการเรียงลำดับข้อมูลในส่วนต่อไป
ประเภทของการเรียงลำดับข้อมูล

อ่านเพิ่มเติม




การทำงานแบบวนซ้ำ


การทำงานแบบวนซ้ำ (Loop)เป็นการนำคำสั่งมาทำงานซ้ำหลายๆ รอบ จะทำงานกี่รอบขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดไว้ ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดจำนวนรอบที่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนาม 3 รอบ คือรู้แน่นอนว่าจะทำงานกี่รอบ หรือแบบจำนวนรอบไม่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนามไปเรื่อยๆ เหนื่อยเมื่อไหร่จึงจะหยุดวิ่ง คือไม่แน่ชัดว่าจะทำงานกี่รอบ

การทำงานซ้ำๆ ในชีวิตประจำวันมีอยู่มากมาย ครูจะขอยกตัวอย่างง่ายๆ ที่นักเรียนทุกๆ คนคงเคยทำมาด้วยตนเองแล้ว เช่น







การนำเสนอและเผยแพร่โครงงาน  การนำเสนอโครงงาน การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุ...